วันเสาร์ที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2559

การสอดคล้องคำระหว่างประธาน-กริยาในประโยค

การสอดคล้องคำระหว่างประธาน-กริยาในประโยค 

เวลาเขียนประโยคแต่ละครั้งสิ่งที่เป็นปัญหาอย่างหนึ่งก็คือ การเลือกคำกริยาให้สอดคล้องกับประธานเพราะเราเกิดไม่แน่ใจขึ้นมาว่าประธานของประโยคเขานับเป็นเอกพจน์หรือพหูพจน์ แล้วกฎของมันก็แยกย่อยออกมาเยอะแยะมากมายจำกันไม่หมดเลยทีเดียว มาดูกันทีละข้อเลยค่ะ
1. มาดูกฎเบสิคกันก่อนเลย ถ้าประธานเป็นเอกพจน์คือมีหนึ่งเดียว กริยาเป็นเอกพจน์   และถ้าประธา อ่านเพิ่มเติม http://www.pasaangkit.com/
                        ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การสอดคล้องคำระหว่างประธาน-กริยาในประโยค

คำนามแสดงความเป็นเจ้าของ

 คำนามแสดงความเป็นเจ้าของ

ปแบบแสดงความเป็นเจ้าของ “-’s”
      คำนามในภาษาอังกฤษที่เป็นสิ่งมีชีวิตสามารถแสดงความเป็นเจ้าของได้โดยการเติม –‘s ไปท้ายคำ แต่หากคำนามนั้นเป็นพหูพจน์ที่ลงท้ายด้วย –s ก็ให้เติม –‘ เฉยๆ
เช่น             dog (หมา) มีรูปแบบแสดงความเป็นเจ้าของ คือ dog’s (ของหมา)
                  dogs (หมาหลายตัว) มีรูปแบบแสดงความเป็นเจ้าของ อ่านเพิ่มเติม http://writer.dek-d.com/

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ คำนามแสดงความเป็นเจ้าของ

การใช้คำนามเป็นคำคุณศัพท์

การใช้คำนามเป็นคำคุณศัพท์

1. ตำแหน่งของคุณศัพท์
ภายในประโยค คำคุณศัพท์มีตำแหน่งการวางได้ 3 จุดคือ
(1) คุณศัพท์ขยายนาม ในกรณีนี้คำคุณศัพท์วางไว้หน้าคำนาม แสดงว่าเป็นคำขยายคำนามนั่นเอง เช่น
adjective            noun
a young            reporter
an old            professor
the funniest        game
this narrow        canal
his fierce            dog
คุณศัพท์ขยายคำนามอาจจะมีมากกว่ อ่านเพิ่มเติม http://www.engisfun.com/

                                ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การใช้คำนามเป็นคำคุณศัพท์

การใช้คำคุณศัพท์เพื่อขยายคำนาม

การใช้คำคุณศัพท์เพื่อขยายคำนาม

1. เรียงไว้หน้าคำนามที่คุณศัพท์นั้นไปขยายโดยตรงได้ ยกตัวอย่างเช่น
He is a strong man. (เขาเป็นคนแข็งแรงมาก) stong เป็น adjective ซึ่งไปวางข้างหน้าเพื่อที่จะขยายคำนามคือ man
2. วางไว้หลัง verb to be ยกตัวอย่างเช่น
She is tall. (เธอเป็นผ็หญิงตัวสูง) คำว่า tall ไปวางหลัง verb to be (is, am, are).
3. วางไว้หลังคำกริยาที่แสดงการรับรู้ ไดแก่คำดังนี้ look (ดู) , taste (มีรส) , feel (รู้สึก) , keep (รักษา) , seem (ดูเหมือนว่า) , smell (มีกลิ่น) , get (ได้รับ) , sound (มีเสียง) ถึงแม้ adjective จะวางหลังคำพวกนี้แต่ก็ตัวมันเองทำหน้าที่ขยายประธา อ่านเพิ่มเติม http://www.englishdd.org/
                           ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การใช้คำคุณศัพท์ เพื่อ ขยายคํานาม

Noun action verbs

Noun  action verbs


       action verbหรือ บางคนเค้าก็เรียกว่า dynamic verb คือคำกริยาที่แสดงอาการ การกระทำ มีการขยับเขยื้อน เคลื่อนไหว พูดง่ายๆคือ เรานึกภาพออกว่าเขาทำกริยานั้นๆอย่างไร เช่น ถ้าบอกว่า เขากินข้าว เราก็นึกภาพออกว่าเขากำลังตักข้าวเข้าปาก   หรือ เขากระโดด เราก็เห็นภาพคนกำลังกระโดด   ที่มันได้ชื่อเก๋ๆมาอีกชื่อหนึ่งว่า dynamic verb เพราะคำว่า dynamic มันแปลว่า เคลื่อนไหว ไงล่ะคะ กริยากลุ่มนี้มีเยอ อ่านเพิ่มเติม http://www.pasaangkit.com/

                                   ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ Noun  action verbs

การสะกดคำที่ลงท้ายด้วย s/-es

การสะกดคำที่ลงท้ายด้วย s/-es

หลักการเติม S (es) ในภาษาอังกฤษ ใคร งง! เข้ามาค่ะ (ตอนที่ 1)
การเติม S หรือ ES ในภาษาัอังกฤษ จำได้ง่ายๆ ว่ามี 2 แบบค่ะ 


1. การเติม S หรือ ES ที่คำนาม (คำนามคือ คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่นะจ๊ะ ใครจำไม่ได้กลับไปอ่าน Part of Speech ได้เลยค่ะ) เมื่อคำนามนั้นเป็นพหูพจน์ (มากกว่า 1 ไม่เชื่อลองจับ "หู" ดูสิว่ามีกี่ข้าง ใครมี 2 ข้างยกมือขึ้น ฮิ้ววววว!)   อ่านเพิ่มเติมhttp://www.krusali.com/
   
                              ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การสะกดคำที่ลงท้ายด้วย s/-es

การเติม s ที่ท้ายคำ

การเติม s ที่ท้ายคำ

       การเติม s es ที่คำกริยา ก็คล้ายกันกับการเติม  s es ที่ท้ายคำนาม เพื่อทำคำนามให้เป็นนามพหูพจน์ทุกประการ ยกเว้นท้ายกริยาที่ลงท้ายด้วย o เท่านั้นที่แตกต่างนิดหนึ่ง เพราะกริยาที่ลงท้ายด้วย o ให้เติม es อย่างเดียว ไม่เหมือนคำนามที่เติม s บ้าง es บ้า อ่านเพิ่มเติม http://xn--12cl9ca5a0ai1ad0bea0clb11a0e.com/

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การเติม s ที่ท้ายคำ